♥♥♥Welcome to blogger Miss Wilaiporn Chinapak ♥♥♥

วันเสาร์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2556

วันที่ 21 พฤศจิกายน 2556


ครั้งที่ 3
บันทึกการเรียนรู้

4. เด็กที่มีความบกพร่องทางร่ากายและสุขภาพ (Children with Physical and Health)
  • เด็กที่มีอวัยวะไม่สมส่วน
  • อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งหายไป
  • มีปัญหาทางระบบประสาท
  • มีความลำบากในการเคลื่อนไหว
จำแนกได้เป็น
      1. อาการบกพร่องทางร่างกาย
      2. ความบกพร่องทางสุขภาพ
1. อาการบกพร่องทางร่างกาย
    - ซีพี. ( Cerebral Palsy )
  • การเป็นอัมพ่าตเนื่องจากระบบประสาทสมองพิการ หรือเป็นผลมาจากหลังคลอดที่กำลังพัฒนาถูกทำลายก่อนคลอด ระหว่างคลอด หรือหลังคลอด
  • การเคลื่อนไหว การพูด พัฒนาการล่าช้า เด็กซีพี มีความบกพร่องที่เกิดขึ้น
      อาการ
  • อัทพาตเกร็งของแขนขา หรือครึ่งซีก ( Soastic )      
  • อัมพาตของลีลาการเคลื่อนไหวผิดปกติ
  • อัมพาตการสูญเสียการทรงตัว
  • อัมพาตตึงแข็ง ( Rigid )
  • อัมพาตแบบผสม
   - กล้ามเนื้ออ่อนแรง ( Muscular Distrophy )    
  • เกิดจากเส้นปราสาทสมองที่ควบคุมกล้ามเนื้อส่วนนั้นๆเสื่อมสลายตัว
  • เดินไม่ได้ นั่งไม่ได้ นอนอยู่กับที่
  • จะมีความพิการซ้อนในระยะหลังคือ ความจำแย่ลง สติปัญญาเสื่อม
   - โรคทางระบบกระดูกกล้ามเนื้อ ( Orthopedic )
  • ระบบกระดูกกล้ามเนื้อพิการแต่กำเนิด เช่น เท้าปุก ( Club Foot )กระดูกข้อสะโพกเคลื่อน อัมพาตครึ่งท่อนเนื่องจากกระดูกไขสันหลัง
  • ระบบกระดูกกล้ามเนื้อพิการด้วยโรคติดเชื้อ เช่น วัณโรค กระดูก หลังโกง กระดูกผุ เป็นแผลเรื้อรังมีหนอกกระดูก
  • กระดูกหัก ข้อเคลื่อน
   - โปลิโอ ( Poliomyelitis ) เกิดจากเชื้อไวรัส
          มีอาการกล้ามเนื้อลีบเล็ก แต่ไม่มีผลกระทบต่อสติปัญญา ยืนไม่ได้ หรืออาจปรับสภาพให้ยืนเดินได้ด้วยอุปกรณ์เสริม
   - แขนขาด้วนแต่กำเนิด ( Limb Deficiency )
   - โรคกระดูกอ่อน ( Osteogenesis Imperfeta )
2. ความบกพร่องทางสุขภาพ
    - โรคลมชัก ( Epilepsy )
        เป็นลักษณะอาการที่เกิดเนื่องจากความผิดปกติ
  1. ลมบ้าหมู ( Grand Mal )
  • เมื่อเกิดอาการชักจะทำให้หมดสติ และหมดความรู้สึกในขณะชัก กล้ามเนื้อเกร็งหรือแขนขากระตุก กัดฟัน กัดลิ้น
     2.  การชักในช่วงเวลาสั้นๆ ( Petit Mal )
  • เป็นอาการชักชั่วระยะเวลาสั้นๆ 5-10 วินาที
  • เมื่อเกิดอาการชักเด็กจะหยุดชะงักในท่าก่อนชัก
  • เด็กจะนั่งเฉย หรือเด็กอาจจะตัวสั่นเล็กน้อย
     3.  การชักแบบรุนแรง ( Grand Mal )
  • เมื่อเกิดอาการชัก เด็กจะส่งเสียง หมดความรู้สึก ล้ทลง กล้ามเนื้อเกร็ง เกิดขึ้นราว 2-5 นาที จากนั้นจะหาย และนอนไปชั่วครู่
    4.  อาการชักแบบ Partial Complex 
  • เกิดอาการเป็นระยะๆ
  • กัดริมฝีปาก ไม่รู้สึกตัว ถูตามแขนขา เดินไปมา
  • บางคนอาจเกิดความโกรธหรือโมโห หลังชักอาจจำเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ได้ และต้องการนอนพัก
    5.  อาการไม่รู้สึกตัว ( Focal Partial )
  • เป็นอาการที่เกิดขึ้นในระยะสั้น เด็กไม่รู้สึกตัว อาจทำอะไรบางอย่างโดยที่ตัวเองไม่รู้ตัว เช่น ร้องเพลง ดึงเสื้อผ้า เดินเหม่อลอย แต่ไม่มีอาการชัก
   -  โรคระบบทางเดินหายใจ
   -  โรคเบาหวาน ( Diabetes mellitus )
   -  โรคข้ออักเสบรูมตอยด์
   -  โรคศีรษะโต ( Hydreocephalus )
   -  โรคหัวใจ ( Cardiac Conditions )
   -  โรคมะเร็ง ( Cancer )
   -  เลือดไหลไม่หยุด ( Hemophilia )
ลักษณะของเด็กบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
  • มีปัญหาเกี่ยวกับการทรงตัว
  • ท่าทางคล่ายกรรไกร
  • เดินขากะเพลก หรืออืดอาดเชื่องช้า
  • ไอเสียงห้องปอยๆ
  • มักบ่นเจ็บหน้าอก บ่นปวดหลัง
  • หน้าแดงง่าย มีสีเขียวจากบนแก้ม ริมฝีปากหรือปลายนิ้ว
  • หกล้มบ่อยๆ
  • กิวและกระหายน้ำเกินกว่าเหตุ
5.เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา(Children With Speech and Largu
      เด็กที่พูดไม่ชัด ออกเสียงผิดเพี้ยน อวัยวะที่ใช้ในการพูดไม่สามารถเป็นไปตามลำดับขั้นการใช้อวัยวะเพื่อการพูดไม่เป็นไปดังตั้งใจ มีอากัปกิริยาที่ผิดปกติขณะพูด
     1. ความผิดปกติด้านการออกเสียง
  • ออกเสียงผิดเพี้ยนไปจากมาตรฐานของภาษาเดิม
  • เพิ่มหน่วยเสียงเข้าในคำโดยไม่จำเป็น
  • เอาเสียงหนึ่งมาแทนอีกเสียงหนึ่ง เช่น กวาด เป็น ฟาด
      2. ความผิดปกติด้านจังหวะเวลาของการพูด เช่น การพูดรัว การพูดติดอ่าง
      3. ความผิดปกติด้านเสียง
  • ระดับเสียง
  • ความดัง
  • คุณภาพของเสียง
      4. ความผิดปกติทางการพูดและภาษาอันเนื่องมาจากพยาธิสภาพที่สมอง โดยทั่วไปเรียกว่า Dysphasia หรือ aphasia
      4.1. Motor aphasia
  • เด็กที่เข้าใจคำถาม หรือคำสั่งแต่พูดไม่ได้ ออกเสียงลำบาก
  • พูดช้าๆ พอพูดตามได้บ้างเล็กน้อย บอกชื่อสิ่งของพอได้
  • พูดไม่ถูกไวยากรณ์
      4.2. Wernicke's aphasia
  • เด็กที่ไม่เข้าใจคำถาม หรือคำสั่ง ได้ยินแต่ไม่เข้าใจความหมาย
  • ออกเสียงไม่ติดขัด แต่มักใช้คำผิดๆ หรือใช้คำอื่นซึ่งไม่มีความหมายมาแทน
      4.3. Conduction aphasia
  • เด็กที่ออกเสียงได้ไม่ติดขัด เข้าใจคำถามดี แต่พูดตามหรือบอกชื่อสิ่งของไม่ได้ มักเกิดร่วมไปกับอัมพาตของร่างกายซีกขวา
       4.4. Nominal aphasia
  • เด็กที่ออกเสียงได้ เข้าใจคำถามดี พูดตามได้ แต่บอกชื่อวัตถุไม่ได้ เพราะลืมชื่อ
       4.5. Global aphasia
  • เด็กไม่เข้าใจทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน
  • พูดไม่ได้เลย
       4.7. Sensory agraphia
  • เด็กที่ลอกตัวเขียนหรือตัวพิมพ์ไม่ได้
  • เขียนตามคำบอกไม่ได้
       4.8. Cortical alexia
  • เด็กที่อ่านไม่ออก เพราะไม่เข้าใจภาษา
       4.9. Motor alexia
  • เด็กที่เห็นตัวเขียนหรือตัวพิมพ์ใหญ่เข้าใจความหมายแต่อ่านออกเสียงไม่ได้
       4.10. Gerstmann's syndrome

  • ไม่รู้ชื่อนิ้ว (finger agnosia)
  • ไม่รู้ซ้ายขวา (allochiria)
  • คำนาณไม่ได้ (acalculia)
  • เขียนไม่ได้ (agraphia)
  • อ่านไม่ออก (alexia)
       4.11. Visual agnosia

  • เด็กที่มองเห็นวัตถุ แต่ไม่รู้ว่าเป็นอะไร บางทีบอกชื่อนิ้วตัวเองไม่ได้
       4.12. Auditory agnosia

  • เด็กที่ไม่มีความบกพร่องทางการได้ยินแต่แปลความหมายไม่เข้าใจ ของคำหรือประโยคที่ได้ยินไม่เข้าใจ
           ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางการพูดและภาษา

  • ในวัยทารกมักเงียบผิดธรรมชาติ ร้องให้เบาๆ และอ่อนแรง
  • ไม่อ้อแอ้ภายในอายุ 10 เดือน
  • ไม่พูดภายในอายุ 2 ขวบ
  • หลัง 3 ขวบแล้วภาษาพูดของเด็กก็ยังฟังเข้าใจยาก
  • ออกเสียงตัวสะกดไม่ได้
  • หลัง 5 ขวบ เด็กยังคงใช้ภาษาที่เป็นประโยคไม่สมบูรณ์ในระดับประถมศึกษา
  • มีปัญหาในการสื่อความหมายพูดตะกุกตะกัก
  • ใช้ท่าทางในการสื่อความหมาย
สะท้อนการเรียนรู้
  1. ได้เรียนรู้เกี่ยวกับเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ ว่ามีลักษณะอย่างไร อาการเป็นแบบไหน
  2. สามารถนำเอาสิ่งที่เรียนในวันนีนำไปเป็นความรู้ไว้ใช้ในอนาคตได้

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น